การบันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5
วันพฤหัสบดี ที่ 8 เดือนกันยายน พ.ศ.2559
ความรู้ที่ได้รับวันนี้
1.การพูดคุยสนทนาผ่อนคลายแลกเปลี่ยนความคิด การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
2.การร้องเพลงเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ไปสอนเด็กอนุบาล โดยมีเนื้อหาเพลง ดังนี้
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
1.การมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน ทำให้เราได้ฝึกทักษะทางสังคม สามารถนำไปใช้กับเพื่อนร่วมงานและการดำรงชีวิตประจำวัน ทำให้เกิดมิตร
2.การฝึกสมาธิที่ได้เล่นเกม ก่อนการเรียนเมื่อเราได้ได้ฝึกสมาธิก่อนเข้าเรียนจะทำให้มีความพร้อมที่จะเรียนไม่มากก็น้อย สามารถไปปรับใช้ในการสอนเด็กปฐมวัยได้
3.การเรียนรู้วิธีทำงานเป็นกลุ่ม สามารถนำวิธีการทำงานเป็นกลุ่มเช่นการวางแผนงานหรือการทำงานเป็นระบบ สามารถไปปรับใช้ในการทำงานได้ เพื่องานจะได้ประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์
4.การเขียนคำคล้องจอง สามารถนำไปหลักวิธีการ ไปปรับใช้ในวิชาชีพครูในอนาคตได้ ให้เด็กเกิดการเรียนรู้มากที่สุด
5.การคัดลายมือ ลายมือเป็นส่วนสำคัญของการเป็นครูอนุบาล การฝึกการเขียนในวิชาบ่อยทำให้เราเกิดความเคยชินและเป็นการฝึกตนเองให้เขียนสวยได้
การประเมิน
1.การพูดคุยสนทนาผ่อนคลายแลกเปลี่ยนความคิด การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
2.การร้องเพลงเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ไปสอนเด็กอนุบาล โดยมีเนื้อหาเพลง ดังนี้
3.การเล่นเกมเกี่ยวกับจิตวิทยามีชื่อเกมว่า "การจินตนาการไร่สตอเบอรี่"
ให้นักศึกษาแต่ละคนจินตนาการว่าเมื่อเราอยู่ในป่ายุโรป มองไปไกลๆจะเห็นสวนสตอเบอรี่ที่ออกผลดก น่าทาน จากนั้นเมื่อเราเดินเข้าไปใกล้ๆสวนเห็นรั้วกั้นอยู่ อาจารย์ถามว่า "รั้วของนักศึกษาในจิตนาการเป็นอย่างไร" ต่างคนต่างหลายคำตอบ จากนั้นเมืองเราปีนรั้วเข้าไปในไร่สตอเบอรี่อาจารย์ถามนักศึกษาว่า"นักศึกษาจะกินสตอเบอรี่ไหม จะกินเยอะไหม" ต่างคนต่างหลายคำตอบเช่นกัน การเล่นเกมนี้เป็นจิตวิทยาเกี่ยวกับจินตนาการของแต่ละคน ซึ่งสามารถบอกถึงนิสัย ใจคอ อารมณ์ และความรู้สึกได้ นักศึกษาเกิดความเพลิดเพลินในการเล่นเกม
4.กิจกรรมการเขียนคำคล้องจองของหน่วยที่ได้รับมอบหมาย โดยอาจารย์จะอธิบายก่อนว่า การเขียนคำคล้องจองเพื่อสอนเด็กปฐมวัยให้เกิดการเรียนรู้ประกอบด้วยอะไรบ้าง มีดังนี้
-หัวข้อ
-ชื่อผู้แต่ง
-เนื้อหา
กลุ่มดิฉันได้หน่วย "โลมา"
ก่อนเราจะเขียนคำคล้องจองเราจะมีการวางแผนงานและหาข้อมูลในการเขียนก่อน หน่วยโลมา เช่น
1.ลักษณะของโลมา
2.ประเภทชนิดของโลมา
3.ส่วนประกอบของโลมา
4.ที่อยู่ของโลมา
5.อาหารของโลมา
6.ขนาดของโลมา เป็นต้น
จากนั้นเมื่อเราหาข้อมูลเสร็จแล้วเราจึงนำข้อมูลที่เกี่ยวกับโลมา มาแต่งเป็นคำคล้องจองได้ ดังนี้
ฉันคือ โลมา
ล่องลาอยในธารากว้างใหญ่
มีทั้งปากแหลม จมูกขวด ว่ายน้ำรวดเร็วไว
อิระวดีสีสดใส แหวกว่ายอยู่ในทะเล
ลำตัวของฉันมีคลีบ มีหาง
ตัวกลมๆ มีสีสรรสวยงามตา
5.การนำเสนอการเขียนคำคล้องจองของแต่ละกลุ่ม
6.อาจารย์ให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเขียนคำคล้องจอง
1.การมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน ทำให้เราได้ฝึกทักษะทางสังคม สามารถนำไปใช้กับเพื่อนร่วมงานและการดำรงชีวิตประจำวัน ทำให้เกิดมิตร
2.การฝึกสมาธิที่ได้เล่นเกม ก่อนการเรียนเมื่อเราได้ได้ฝึกสมาธิก่อนเข้าเรียนจะทำให้มีความพร้อมที่จะเรียนไม่มากก็น้อย สามารถไปปรับใช้ในการสอนเด็กปฐมวัยได้
3.การเรียนรู้วิธีทำงานเป็นกลุ่ม สามารถนำวิธีการทำงานเป็นกลุ่มเช่นการวางแผนงานหรือการทำงานเป็นระบบ สามารถไปปรับใช้ในการทำงานได้ เพื่องานจะได้ประสบความสำเร็จตามจุดประสงค์
4.การเขียนคำคล้องจอง สามารถนำไปหลักวิธีการ ไปปรับใช้ในวิชาชีพครูในอนาคตได้ ให้เด็กเกิดการเรียนรู้มากที่สุด
5.การคัดลายมือ ลายมือเป็นส่วนสำคัญของการเป็นครูอนุบาล การฝึกการเขียนในวิชาบ่อยทำให้เราเกิดความเคยชินและเป็นการฝึกตนเองให้เขียนสวยได้
การประเมิน
ประเมินตนเอง
-เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย
-ตั้งใจเรียน บันทึกเนื้อหาได้อย่างละเอียด ครบถ้วน
ประเมินเพื่อน
-เพื่อนๆเข้าเรียนตรงเวลา สุภาพอ่อนน้อม
-มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและกัน เข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างสนุกสนาน
ประเมินอาจารย์
-อาจารย์มีเนื้อหาในการสอนที่เข้าง่าย สนุกสนาน เพลิดเพลิน
-อาจารย์แต่งกาย เข้าสอนตรงเวลาเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา
ประเมินตนเอง
-เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย
-ตั้งใจเรียน บันทึกเนื้อหาได้อย่างละเอียด ครบถ้วน
ประเมินเพื่อน
-เพื่อนๆเข้าเรียนตรงเวลา สุภาพอ่อนน้อม
-มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและกัน เข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างสนุกสนาน
ประเมินอาจารย์
-อาจารย์มีเนื้อหาในการสอนที่เข้าง่าย สนุกสนาน เพลิดเพลิน
-อาจารย์แต่งกาย เข้าสอนตรงเวลาเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา
นางสาวหทัยทิพย์ อธิษฐานรัตน์ ผู้บันทึก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น